logo

หน้าหลัก / ค้นหาโรคตามอวัยวะ

อวัยวะภายในร่างกาย

ประสาทวิทยา

ตัวกระตุ้น สิ่งเร้า (Stimulus)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

ตัวกระตุ้น หรือ สิ่งเร้า ภาษาอังกฤษ ถ้าเป็นเอกพจน์ (สิ่งๆเดียว) คือ Stimulus ถ้าเป็นพหูพจน์ (หลายสิ่ง) คือ Stimuli โดยมีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน แปลว่า ปฏัก

เยื่อหุ้มสมอง (Meninges)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

เยื่อหุ้มสมอง เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เรียกว่า เนื้อเยื่อเส้นใย (Fibrous tissue) ที่ห่อหุ้มสมองและไขสันหลัง โดยมีหน้าที่ร่วมกับน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง

ความรู้ทั่วไปโรคลมชัก (Overview of Epilepsy)

โดย ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

กลไกการเกิดโรคลมชัก เกิดจากการที่สมองบางส่วนหรือทั้งหมดมีความผิดปกติ และเกิดกระบวนการสร้างและปล่อยประจุไฟฟ้าที่ต่อเนื่องออกมา

อุบัติเหตุที่เกิดจากโรคลมชัก (Accidents and Epilepsy)

โดย ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

การช่วยเหลือผู้ที่กำลังชักที่ถูกต้อง สิ่งแรก คือ ผู้ช่วยเหลือต้องไม่ตกใจ ตั้งสติให้ดีและอย่าทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายจากการช่วยเหลือ

โรคซีเอม โรคChiari (CM หรือ Chiari malformation)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

โรคซีเอม (CM) เป็นชื่อย่อของโรค Chiari malformation ซึ่งเป็นโรคที่มีความผิดปกติของ สมองส่วนหลัง หรือสมองส่วนท้าย (Hindbrain)